ทิศทางข้าวไทย ภายใต้นโยบายรับจำนำ
ReadyPlanet.com
dot
bulletโปรโมชั่น
bulletเข้าสู่ระบบ
bulletสมัครสมาชิก
การรับประกันสินค้า
dot
ตระกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
dot
ค้นหาสินค้า

ราคาสินค้า
หมวดสินค้า

  [Help]
dot
dot
อีเมล์

dot
หมวดสินค้า
เครื่องยนต์อเนกประสงค์
เครื่องตัดหญ้า
เครื่องพ่นยา
เครื่องปั่นไฟ
ปั๊มน้ำ เครื่องสูบน้ำ
เครื่องตัดแต่งกิ่งไม้
เครื่องเจาะดิน
เครื่องมือฮาร์ดแวร์
แม่แรงยกรถ
เอ็นตัดหญ้า กระปุกเอ็นตัดหญ้า
สินค้าอื่นๆ
line id @vigotech
แจ้งชำระเงิน
โปรโมชั่นประจำเดือน
clinton
กิจกรรมของบริษัท
วีดีโอการใช้งาน
รีวิวสินค้าจากลูกค้า
ข่าวเกี่ยวกับเกษตรกรรม
ขนส่งเคอรี่ kerry
bulletเงื่อนไขการรับประกันสินค้า
คู่มือการใช้งานเครื่องพ่นยาสะพายหลังแบตเตอรี่และมือโยก


เครื่องมือการเกษตรและอุปกรณ์การเกษตร


ทิศทางข้าวไทย ภายใต้นโยบายรับจำนำ

ข้าวไทย

 

ทิศทางข้าวไทย ภายใต้นโยบายรับจำนำ

 

ประชากรไทยกว่าร้อยละ 60 เป็นเกษตรกรและส่วนใหญ่ปลูกข้าวเป็นพืชหลัก ข้าวไทยนับเป็นสินค้าเกษตรที่มีความสำคัญมาก ทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ กล่าวคือประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับหนึ่งของโลกมานานกว่า 120 ปี โดยมีส่วนแบ่งตลาดถึง 1 ใน 3 ของปริมาณการค้าข้าวโลกทั้งหมด ด้วยไทยมีผลผลิตเหลือจากการบริโภคภายในประเทศมากกว้าประเทศอื่น โดยเฉพาะในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจส่งออกข้าวไทยได้เติบโตสูงสุดเป็นประวัติการณ์ จากเดิมที่มียอดส่งออกปีละ 6 ล้านตัน ก็พุ่งทะลุไปกว่า 10 ล้านตัน แต่เมื่อยโยบายประชานิยมอย่างโครงการรับจำนำข้าวออกมา ทุกอย่างก็เปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือ 

สาเหตุสำคัญที่ทำให้ตลาดส่งออกข้าวของไทยหดตัวลง

  แน่นอนว่าเกิดจากโครงการรับจำนำข้าวในระดับราคาสูงที่รัฐบาลประกาศรับจำนำข้าวเปลือกเจ้าทุกเมล็ดในระดับราคา 15,000 บาทและข้าวหอมมะลิที่ราคา 20,000 บาท การที่รัฐเป็นผู้ซื้อรายใหญ่ในตลาดที่ข้าวเปลือกให้ราคาสูงทำให้เอกชนทั่วไปเคยรับซื้อในราคาตลาดทั่วไปไม่สามารถแข่งขันได้ ทำให้ข้าวเปลือกจำนวนมากจึงไหลเข้าไปสู่โครงการรับจำนำของรัฐ แต่การรับจำนำในราคาสูงกว่าราคาตลาด แม้จะเป็นการดึงราคาข้าวเปลือกในตลาดรับซื้อเอกชนให้สูงขึ้นตามราคาของรัฐจะช่วยให้เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง แต่ราคาข้าวเปลือกที่สูงขึ้นกว่าราคาตลาดทั่วไป ก็จะไปสะท้อนยังราคาข้าวสารส่งออกที่จะทำให้ราคาข้าวส่งออกของไทยปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย

การที่รัฐเป็นผู้รับซื้อรายใหญ่ในตลาด ข้าวเปลือกและเป็นผู้ครอบครองข้าวสารรายใหญ่ในตลาดส่งออกข้าวของไทยนั้น รัฐจำเป็นต้องทำหน้าที่ในการขายหรือระบายข้าวออกอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมิฉะนั้นจะเกิดการสูญเสียกับอุตสาหกรรมข้าวไทยทั้งระบบตามมา แต่ที่ผ่านมากลไกลการจำหน่ายข้าวออกของรัฐดูเหมือนจะขาดประสิทธิภาพและขาดการวางกลไกลที่เหมาะสม แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะได้ข่าวเป็นระยะว่า ได้มีสัญญาขายข้าวในรูปของรัฐต่อรัฐ (G to G) กับฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บังคลาเทศ โกตติวัวร์ และล่าสุดกับจีน แต่ข้อเท็จจริงพบว่าประเทศที่หน่วยงานของรัฐได้มีการกล่าวถึงดังกล่าว ได้ซื้อข้าวจากไทยในปีที่ผ่านมาในจำนวนที่ลดลงอย่างมาก

การที่ไทยส่งออกข้าวลดลงนั้นเป็นเพราะข้าวสารส่งออกของไทยมีราคาสูงกว่าราคาข้าวสารส่งออกของประเทศคู่แข่งขันที่สำคัญอย่างเช่น เวียดนาม และอินเดียอย่างมาก หากจะนำราคาส่งออกข้าว 5% และ 25% เฉลี่ยทั้งปีของประเทศผู้ส่งออกสำคัญมาพิจราณาพบว่าข้าว 5%ของไทยในตลาดการค้าข้าวโลกมีระดับราคาเฉลี่ยต่อตันอยู่ที่ 573 ดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่เวียดนามส่งออกข้าวสาร 5% ในตลาดการค้าโลกในราคาเฉลี่ยเพียง 432 ดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งต่างกันถึงตันละ 141 ดอลล่าร์สหรัฐ

การสร้างอำนาจการผูกขาดของรัฐทั้งในตลาดข้าวเปลือกและตลาดข้าวสารส่งออกตามโครงการรับจำนำ จึงไม่ได้เอื้อประโยชน์ต่อการค้าข้าวแต่อย่างไร แต่ได้สร้างผลกระทบต่อตลาดส่งออกข้าวไทยและอาจนำไปสู่ภาวะวิกฤตตามมา อีกทั้งการยกระดับราคาข้าวของไทยด้วยต้นทุนของงบประมาณจำนวนมากได้เอื้อประโยชน์ต่อคู่แข่งไทยในตลาดส่งออกพร้อมๆ กับการสร้างแรงกดดันให้ประเทศผู้นำเข้า หันไปใช้นโยบายพึ่งพาตนเองโดยพยายามขยายการผลิตภายในประเทศของตนเองให้มากขึ้นเพื่อสร้างเสถียรภาพของความมั่นคงทางอาหารภายในประเทศของตนเองตามมาอีกด้วย 

ความจริงเรื่องจำนำข้าว

เคยมีให้เห็นมาตั้งแต่อดีตแล้วว่ามันเกิดปัญหาขายข้าวไม่ได้ หรือขายถูกกว่าราคารับซื้อรัฐก็จะขาดทุนหลายหมื่นล้านบาท ขนาดก่อนหน้านี้เปิดรับจำนำในปริมาณจำกัดยังเสียหายมหาศาล แต่คราวนี้รับจำนำทุกเมล็ด ราคาก็เกินราคาตลาดอยู่มาก จึงเป้นความเสียหายทั้งระบบ ซึ่งสุดท้ายก็จะส่งผลไปที่เกษตรกรรายย่อย วันนี้เกษตรกรอาจดีใจที่ขายข้าวได้ราคาดี แต่เป็นเพียงชาวนาส่วนน้อยเท่านั้น ที่ขายข้าวได้ราคาจริงตามที่รัฐประกาศรับจำนำ โดยที่รู้ไม่ว่าความหายนะระยะยาวกำลังคืบคลานเข้ามาในเร็ววันนี้

  อย่างไรก็ตาม การส่งออกข้าวไทย ในปี 2556 เชื่อว่ายังต้องเหนื่อย โดยปัจจัยมาจากเวียดนามตั้งเป้าส่งออกข้าวที่ 7 แสนตันในราคาที่ถูกกว่าไทย ด้านผู้ส่งออกข้าวคาดส่งออกข้าวเฉพาะเอกชนปี 2556 ส่งออกได้ 6.5 ล้านตัน สำหรับการส่งออกข้าว 2556 จากการคาดการณ์ของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดว่าไทยจะส่งออกได้อันดับ 1 ที่ปริมาณ 8 ล้านตัน อินเดียส่งออกได้ 7.5 ล้านตัน เวียดนามส่งออกได้ 7.4 ล้านตัน อย่างไรก็ตามทางผู้ส่งออกยังมองว่าการส่งออกปีนี้ยังคงต้องเผชิญปัญหาและอุปสรรคที่จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทย ทั้งเรื่องของการแข่งขันที่รุนแรงในตลาด ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยลบมาจากเวียดนามทยอยส่งออกข้าวสู่ตลาดโลกมากขึ้นตั้งเป้าไว้ที่ 7 แสนตัน โดยส่งออกในราคาถูกซึ่งส่งผลให้ราคาข้าวในตลาดโลกต่ำลง อีกทั้งความต้องการข้าวจากจีน อินโดนีเซีย และฟิปปินส์ลดลงทำให้เวียดนามชิงตลาดข้าวไทยได้มากขึ้น

โดยเป็นผลมาจากราคาข้าวไทยยังคงมีราคาสูง และไทยยังคงเดินหน้ารับจำนำข้าวต่อเนื่อง อีกทั้งขณะนี้ค่าเงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่า การแข่งขันข้าวไทยยังคงต้องลำบากโดยจีนยังคงนำเข้าข้าวอย่างต่อเนื่อง ประเทศอิรักเละญี่ปุ่นมีการเปิดประมูลซื้อข้าว ซึ่งยังเป็นโอกาสที่ข้าวไทยจะส่งออกได้หากดูจากเป้าการส่งออกข้าวเฉพาะภาคเอกชนเองคาดว่าการส่งออกในปี 2556 จะสามารถส่งออกได้ 6.5 ล้านตัน ขณะที่กระทรวงพาณิชย์คาดว่าจะส่งออกได้ 8.5 ล้านตัน หรือมีมูลค่า 5,700 ล้านเหรียญสหรัฐ หากคิดเป็นเงินบาทอยู่ที่ 171,000 ล้านตัน ซึ่งเป็นการส่งออกในภาพรวมของประเทศ หรือหากมีรัฐบาลสามารถระบายข้าวรัฐได้มากขึ้นในรูปแบบรัฐต่อรัฐหรือจีทูจี ก็เชื่อว่าการส่งออกข้าวในภาพรวมอาจจะมากกว่า 8.5 ล้านตันได้ แต่ก็เป็นคำถามที่ว่าจะขายได้รึป่าว 

ข้าวจ้าวพันธุ์ ข้าวบ้านนา 432

  ข้าวจ้าวชาวบ้านนาสายพันธุ์ PCRC92001-432เป็นข้าวขึ้นน้ำพันธุ์พื้นเมืองที่ผ่านการปรับปรุงพันธุ์โดยการคัดเลือกแบบคัดสายพันธุ์บริสุทธิ์ โดยในปี 2535นายกฤษณพงศ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล นักวิชาการเกษตร 6 กลุ่มพืชศาสตร์ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี ได้เก็บคัดเลือกรวงข้าวพันธุ์ขาวบ้านนาจากแปลงนาของนายจรูญ ธรรมศรี เกษตรที่ทุ่งคลองสารภี หมู่ที่ 8 ต.วัดโบสถ์ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี ซึ่งมีพื้นที่ปลูกข้าวขึ้นน้ำพันธุ์พื้นเมืองพันธุ์ขาวบ้านนาและพันธุ์ขาวตาเพชร ทั้งนี้พันธุ์ข้าวทั้งสองไม่ความบริสุทธิ์เท่าที่ควร เพราะเกษตรกรใช้พันธุ์โดยการแลกเปลี่ยนพันธุ์ข้าวกันในพื้นที่

ในปี 2537 ได้ปลูกคัดเลือกโดยทำการศึกษาพันธุ์เบื้องต้นที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีน และนาเกษตรกร ต.เตยน้อย อ.เมือง จ.นครนายก และ ต.วัดโบสถ์ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี คัดเลือกได้สายพันธุ์ดีจำนวน 20 สายพันธุ์ ในระหว่างปี 2538-2540 ได้ดำเนินการปลูกข้าวสายพันธุ์ดี จำนวน 20 สายพันธุ์ เพื่อศึกษาพันธุ์ขั้นสูง โดยการปลูกแถวยาว 4 เมตร จำนวน 4 แถวต่อสายพันธุ์ ที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี และนาเกษตรกร อ.เมือง และ อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี อ.เมือง จ.นครนายก รวม 4 แปลงต่อปีจนคัดเลือกได้สายพันธุ์ดี โดยพิจารณาจากลักษณะทรงต้น อายุเก็บเกี่ยว เสถียรภาพการให้ผลผลิต และคุณภาพเมล็ดที่ดีกว่าข้าวขึ้นน้ำพันธุ์ขาวบ้านนาพื้นเมืองที่เกษตรกรใช้ปลูกได้ จำนวน 7 สายพันธุ์ ที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี

ระหว่างปี 2544-2548 ได้วิเคราะห์คุณภาพเมล็ดทางกายภาพและเคมีที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีน และศึกษาการตอบสนองต่ออัตราปุ๋ยไนโตรเจนที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนและนาเกษตรกร อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี ในปี 2548 ได้ทดสอบความสามารถในการขึ้นน้ำที่ศูนย์วิจัยข้าวพระนครศรีอยุธยา ในปี 2551 ที่ศึกษาระยะพักตัวของเมล็ดลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางการเกษตรที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีน ในระหว่างปี 2551-2553 ได้ดำเนินการทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคและแมลงศัตรูข้าวที่สำคัญที่กลุ่มวิชาการ สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว ศูนย์วิจัยข้าวปราจีน ในปี 2554 ได้ดำเนินการทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคไหม้ ปลูกทดสอบยืนยันผลความสารถในการขึ้นน้ำและผลิตเมล็ดพันธุ์ดัก ที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีน และประเมินการยอมรับของเกษตรกรโดยการปลูกทดสอบและประเมินการยอมรับของชาวนาข้าวขึ้นน้ำในเขต อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี จนสามารถคัดเลือกได้ข้าวขาวบ้านนา สายพันธุ์ดีเด่น “PCRC92001-432” ซึ่งเป็นสายพันธุ์ให้ผลผลิตสูง กล่าวคือ มีความสารถในการให้ผลผลิตที่ดีเหนือกว่าสายพันธุ์พลายงามปราจีน มีอายุออกดอกประมาณวันที่ 12 พฤศจิกายน เหมาะสมกับการลดลงของระดับน้ำ และเก็บเกี่ยวได้พอดีกับการแห้งของน้ำในนา ซึ่งเป็นคุณลักษณะสำคัญสอดคล้องกับผลการประเมินความชอบข้าวขาวบ้านนาสายพันธุ์ PCRC92001-432 ของเกษตรกรในปี 2554 ที่ชอบเนื่องจากมีความเหมาะสมทั้งการเจริญเติบโต การขึ้นน้ำ และในช่วงวันเวลาเก็บเกี่ยวข้าว

ลักษณะเด่นของข้าวจ้าวพันธุ์ขาวบ้านนา 432 คือ เป็นข้าวขึ้นน้ำ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 449 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าพันธุ์พลายงามปราจีนบุรี ร้อยละ 35 (333 กิโลกรัมต่อไร่) สามารถขึ้นน้ำและปลูกได้ดีในน้ำที่ลึกที่มีระดับน้ำมากกว่า 100 เซนติเมตร และเป็นช่วงเก็บเกี่ยวประมาณวันที่ 10-14 ธันวาคม จึงเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เมล็ดข้าวมีคุณสมบัติเหมาะสำหรับแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เส้น ได้แก่ เส้นหมี่ และเส้นขนมจีน โดยที่เส้นหมี่และเส้นขนมจีนที่ผลิตได้ดีมีลักษณะเหนียวนุ่ม 

ข้าวเหนียวลืมผัว

  ข้าวเหนียวลืมผัวเป็นข้าวเหนียวนาปีของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวม้ง ไทยรวมไทยพัฒนาที่ 3 ต.รวมไทยพัฒนา อ.พบพระ จ.ตาก ปลูกในสภาพไร่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 650 เมตร และได้มีกลุ่มชาติพันธุ์ชาวม้ง นำเมล็ดพันธุ์มาปลูกบริเวณรอยต่อระหว่าง อ.นครไทย และ อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก ต่อมาปี 2553 นายพนัส สุวรรณธาดา เจ้าพนักงานการเกษตร 5 (ตำแหน่งในขณะนั้น) ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ไปปฏิบัติการราชการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ภูขัด ภูเมี่ยง ภูสอยดาวบริเวณ อ.นครไทยและ อ.ชาติตระการ ได้พบเห็นและสนใจจึงรวบรวมและนำมาปลูกเปรียบเทียบกับข้าวที่ปลูกจากแหล่งเดิม อ.พบพระ และคัดเลือกพันธุ์ให้บริสุทธิ์ระหว่างปี 2534-2539 ณ ส่วนแยกของสถานีทดลองพืชสวนดอยมูเซอ อ.พบพระ จ.ตาก เพื่อใช่ในโครงการตามพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถเมื่อคัดเลือกพันธุ์บริสุทธิ์แล้วได้มอบเมล็ดพันธุ์ให้ นายไชยวัฒน์ วัฒนไชย ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยพืชสวนพิจิตร (ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาอธิบดีกรมการข้าว) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ ที่เสด็จมาเยี่ยมชมโครงการฯ จากนั้นนายพนัส สุวรรณธาดา ได้ทำแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์ในปี 2539 และนำเมล็ดพันธุ์ที่ได้ไปให้กลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ที่ ต.รวมไทยพัฒนา อ.พบพระ จ.ตาก ซึ่งเป็นแหล่งปลูกดั้งเดิมปลูกขยายพันธุ์เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป

แต่ด้วยวิธีการปลูกแบบชาวเขาที่มักปลูกข้าวหลายพันธุ์ใกล้กันหรือปลูกด้วยกัน จึงทำให้ข้าวเหนียวลืมผัวมีเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์อื่นปะปน และไม่เป็นพันธุ์บริสุทธิ์ ในปี 2552 ศูนย์วิจัยโลกพิษณุโลก และศูนย์วิจัยข้าวแพร่ จึงได้เริ่มทำการคัดเลือกพันธุ์บริสุทธิ์อีกครั้ง เริ่มจากการคัดเลือกแบบหมู่ (Mass selection) และคัดเลือกรวงในปี 2551 เพื่อนำมาทำเป็นพันธุ์บริสุทธิ์โดยปลูกแบบรวงต่อแถว แล้วนำไปเปรียบเทียบผลผลิตเบื้องต้นที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรตาก ทดสอบการปรับตัวในแปลงเกษตรกรที่ อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานี และในนาราษฎร วิเคราะห์คุณค่าเมล็ดทางโภชนาการ ทดลองปฏิกิริยาการตอบสนองต่อปุ๋ยในโตรเจน ทดสอบปฏิกิริยาต่อโรคและแมลงศัตรูข้าวที่สำคัญ วิเคราะห์คุณภาพเมล็ดทางกายภาพ เคมี คุณภาพสี การหุงต้มรับประทานและทำลายพิมพ์เอกลักษณ์ (DNA fingerprint)

 

ลักษณะเด่นของข้าวเหนียวลืมผัว

คือ เมล็ดทีคุณค่าทางโภชนาการสูง โดยเฉพาะสารต้านอนุมูลอิสระรวมสารเหล่านี้ ได้แก่ แอนโทไซยานิน และแกมมา โอไรซานอล กรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น โอเมกา 3 โอเมกา 6 และโอเมกา 9 วิตามิน เช่น วิตามินอี ธาตุอาหาร เช่น เหล็ก แคลเซียม แมงกานีส ข้าวกล้องเมื่อหุงสุกมีกลิ่นหอม ลักษณะสัมผัสเมื่อแรกเคี้ยวจะกรุบ หนึบ ภายในนุ่มเหนียว

 

จากข้อมูลข้าวเพื่อการค้าที่นำเสนอมาทั้งหมดจะพบว่า สายพันธุ์ข้าวที่ได้รับการส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะปลูกอยู่ในปัจจุบัน ล้วนแล้วแต่เป็นสายพันธุ์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่ทั้งสิ้น แต่อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นการต่อยอดมาจากฐานพันธุกรรมข้าวสายพันธุ์ดั้งเดิมในท้องถิ่นนั่นเอง ความจำเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงพันธุ์ข้าวก็คือ เพื่อตอบสนองต่อสภาพการณ์ธรรมชาติต่างๆที่เปลี่ยนแปลง

 



ข่าวเกษตรน่ารู้

เทคนิคการปลูกและวิธีเพาะพันธุ์ผักหวานป่า ให้เจริญงอกงาม
การปลูกไผ่ตง พืชอเนกประสงค์สารพัดประโยชน์ เป็นที่ต้องการของตลาด
วิธีปลูกมะพร้าวน้ำหอม ให้มีรสชาติหวานกลมกล่อม และมีกลิ่นหอมชื่นใจ
วิธีการทำปุ๋ยชีวภาพ และ ปุ๋ยพืชสด
การเพาะปลูกและขยายพันธุ์พืช การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิธีทำ สารกำจัดศัตรูพืช น้ำส้มควันไม้ (Wood Vinegar)
วิธีทำ สมุนไพรขับไล่แมลง แบบต่างๆ
การเลี้ยงกบ เพื่อเลี้ยงชีพ และ การเตรียมบ่อพัก
6 ขั้นตอน การทำนาข้าวอินทรีย์ ปลอดสารพิษ
ขั้นตอนวิธีทำ ปุ๋ยหมักชีวภาพ และ การใช้ประโยชน์
ขั้นตอนการทำ หัวเชื้อจุลินทรีย์ ด้วยตนเอง
ขั้นตอนวิธีทำ การเผาถ่านไม้ เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงภายในครัวเรือน
น้ำสกัดชีวภาพ คืออะไร และการทำน้ำสกัดชีวภาพ แบบต่างๆ
งานเกษตรแฟร์ 2563 นวัตกรรมใหม่ เพื่อเกษตรไทยยั่งยืน
เกษตรกรจังหวัดพะเยา "ปลูกแตงโม" บนเนื้อที่ 13 ไร่ สร้างรายได้ปีละ 300,000
เกษตรกร จ.ราชบุรี จับกลุ่มปลูกองุ่นไร้เมล็ด เชิญชวนชิมสดจากไร่
เห็ดมิลค์กี้ พืชเศรษฐกิจใหม่ สร้างรายได้เสริม กก. ละ 1,000 บาท เพาะง่ายรายได้ดี
งานเกษตรแฟร์ 2562
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชเศรษฐกิปลูกง่าย ตลาดต้องการสูง article
งานเกษตรแฟร์ 2561 กับแนวคิดร่วมกันก้าวไป วันที่ 26 ม.ค. - 3 ก.พ article
คึกคักสุดๆ!! ชมชิมช้อป ทุเรียน มังคุด ชั้นหนึ่ง เมืองจันท์
ถั่วพู ผักพื้นบ้านปลูกง่ายสร้างรายได้งาม ดีกว่าถั่วเหลือง
ปลูกเมลอนขายในโซเชียล ขายดีจนต้องจองล่วงหน้า!
เทปน้ำหยด นวัตกรรมช่วยเหลือเกษตรกร
[อบรมฟรี] สวนเกษตรดาดฟ้าหลักสี่อบรมฟรี ปลูกผักปลอดสารพิษ
เทคนิคการปลูกพืชคลุมดิน
Review ตลับเอ็นตัดหญ้า จากการใช้งานจริง by Alcidini Winery ไร่ไวน์อัลซิดินี่
งาน Organic & Natural Expo 2015
เห็ดโต่งฝน เห็ดเศรษฐกิจตัวใหม่จากประเทศเพื่อนบ้าน
ผักบุ้งแก้ว 2 ไร่ เก็บขายได้วันละพัน article
เยี่ยมไร่เมล่อนกำแพงแสน ดูเทคนิคการผลิตเมล่อนให้หวานอร่อย
เกษตรกรเมืองโอ่งเพาะเห็ดหูหนูขาย สร้างรายได้กว่าหมื่นบาทต่อวัน article
เทคนิคการปลูกแตงไทยแบบง่ายๆ article
มะนาวนิ้วมือหรือมะนาวคาเวียร์ เปรี้ยวอย่างมีสีสันเพิ่มมูลค่าอาหารให้ดูไฮโซ article
ชมพู่ทับทิมจันท์....สวนดังของราชบุรี ชมพู่คุณภาพส่งจีน article
เยี่ยมสวนฝรั่ง..มืออาชีพที่บ้านแพ้วเงินล้านจากฝรั่งทำไม่ยาก article
กล้วยตัดใบแหล่งใหญ่ของประเทศ พื้นที่ปลูกนับ 10,000 ไร่ ก้าวไกลสู่ตลาดโลก article
ปลูกข่าเหลือง พืชเศรษฐกิจทำเงินที่น่าลงทุน ปลูกง่าย รายได้ดี 5-8 หมื่นบาท/ไร่ article
พังกาลอดฟาร์ม...พลิกฟื้นชาวสวนยาง ด้วยธุรกิจนกกระทาผลิต 80,000 ตัว/เดือน article
วิธีปลูกผักกาดหอมหรือผักสลัด พืชมากคุณประโยชน์ article
วิธีการปลูกผักบุ้งจีน ผักแคลเซียมสูง ปลูกง่ายเจริญเติบโตไว article
วิธีการปลูกผักชี ผักที่ปลูกง่าย ตลาดต้องการสูง article
วิธีปลูกข้าวโพดสีม่วง ปลูกง่าย รายได้ดี article
ปลูกผักคะน้าเกษตรอินทรีย์ ขายดี ราคาดี ไม่มีคู่แข่ง article
ขนุนทวาย พันธุ์ปิยะมาดา เปลือกบางยางน้อย ให้ผลดก article
เพาะพันธุ์สับปะรดสี ใช้พื้นที่น้อย รายได้ดี ปลูกง่าย รายได้หลักหมื่น article
กุ้งก้ามแดง สัตว์เศรษฐกิจตัวใหม่ในนาข้าว กก.ละ 400-500 บาท อาชีพพลิกฟื้นฐานะของชาวนาไทย article
มาริสาฟาร์ม … ฟาร์มเห็ดโคนญี่ปุ่นคุณภาพ article
การปลูกมะม่วงในวงบ่อปลูกไม่ยาก ให้ผลผลิตดี article
‘สาคู’พืชเศรษฐกิจช่องทางรวยของภาคใต้ article
เกษตรในเมือง....ปลูกผักบนดาดฟ้าอาคารสำนักงานแบบ DIY article
การปลูกพริก และประโยชน์ของพริก article
เทคนิคการปลูกมะละกอ 8ไร่ 2.5แสน ในช่วงเวลา 2 เดือน article
เทคนิคการปลูกผักในร่ม ใต้โคนต้นไม้ใหญ่ article
โรคผลเน่าของแคนตาลูป article
ทำไมบางคนใช้ยาแล้วได้ผล บางคนไม่ได้ผล ทั้งที่มันเป็นยาตัวเดียวกัน ?? article
การปลูกผักหลังน้ำท่วม article
การอนุรักษ์ดินบนพื้นที่ลาดเท article
วิธีพัฒนาที่ดินตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง article
สับปะรดแปรรูป สามร้อยยอดเพิ่มมูลค่าสับปะรดไทย ครองแชมป์ตลาดสากล
ปลูกตะไคร้ ป้อนตลาดทั้งในและต่างประเทศ ส่งออกปีละไม่ต่ำกว่า 50 ตัน article
เทคนิคการขยายพันธุ์มะนาว เพิ่มปริมาณกิ่งพันธุ์สูงสุด ด้วยกิ่งติดใบเพียงใบเดียว article
เผือกหอม พืชหลังนา สร้างรายได้งามของคนบ้านหมอ สระบุรี article
ปลูกแตงกวา ระบบน้ำหยด ที่ไร่ “ศุภโชค หินเบี้ย” จ.เพชรบูรณ์ article
อะโวคาโด...พืชเศรษฐกิจนอกสายตา ตลาดต้องการสูง ราคาแพง 50-60 บาท/กก. article
พลิกดินอีสานปลูกปาล์มน้ำมัน ที่หนองบัวลำภู ของเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด บนพื้นที่กว่า 100 ไร่ article
สวนกายกานต์ ….ปลูกตะไคร้กว่า 100 ไร่ ป้อนตลาดครบวงจร ทั้งกินสด ส่งโรงงาน ส่งออก อาทิตย์ละ 10 ตัน article
เทคนิคการทำมะนาวนอกฤดูในวงบ่อ ของสวนมะนาวแป้นท้ายไร่ ที่พิจิตร article
ลูกหม่อน อีกหนึ่งพืชเพื่อสุขภาพกระแสแรง article
เห็ดแครง…เห็ดเศรษฐกิจมาแรง ราคาแพง 150-200 บาท/กก. ตลาดต้องการสูง article
แหล่งผลิตกล้วยหอมทองส่งญี่ปุ่นแห่งใหม่ พื้นที่ปลูกกว่า 100 ไร่ ในพื้นที่ปลูก 7 จังหวัด article
เกษตรกร กำแพงแสน ปลูกกระชายส่งขาย สร้างรายได้หมุนเวียนตลอดปี article
มะนาวแป้นพิจิตร เน้นทำนอกฤดู ขายช่วงแพง ฟันกำไร article
ปลูกมะละกอ ส่งมะละกอป้อนตลาดวันละ 20 ตัน article
ปลูกมะขามเปรี้ยวยักษ์100 ไร่ ผลผลิตกว่า 1,500 ตัน article
ปลูกแก้วมังกร 1,500 ไร่ สร้างรายได้มหาศาล
เยี่ยมสวนมะกรูด ผลิตใบมะกรูดคุณภาพป้อนตลาดส่งนอก
หน่อไม้ฝรั่งส่งญี่ปุ่น ทำเงินสะพัด พลิกฐานะชั่วข้ามปี article
กุยช่าย พืชทำเงินของคนเมืองโอ่ง
ต้นเหตุของดินเสื่อม article
ปลูกหญ้าแฝก พืชมหัศจรรย์ ช่วยรักษาหน้าดินและสิ่งแวดล้อม article
จะลงทุนภาคการเกษตรอย่างไร ? ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC article
ราคาผัก ผลไม้กำหนดจากอะไร…ทำไมราคาจากสวนจึงต่างจากราคาตลาดมาก article
มาริสสาฟาร์ม … ฟาร์มเห็ดโคนญี่ปุ่นคุณภาพ article
เทคนิคผลิตเมล่อนเกรดพรีเมี่ยม ส่งแม็คโครสัปดาห์ละ 2 ตัน article
เยี่ยมสวนมะพร้าวน้ำหอมส่งนอก 60 ไร่ สร้างอาชีพยั่งยืนนานกว่า 20 ปี article
ปลูกแตงกวาไร่เดียว ฟันเงินกว่า 70,000 ลงทุนแค่ 13,000 article
ปลูกดอกสลิดสร้างรายได้ช่วงหน้าหนาวราคาพุ่ง กก. 120-130 บาท article
เทคนิคเพาะเห็ดนางฟ้าขายช่วงราคาแพง จากสมบูรณ์ฟาร์ม จ.ขอนแก่น article
มันสำปะหลัง ระบบน้ำหยด ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต article
โกลบอล ออร์แกนิคส์ ส่งมะละกอป้อนห้างวันละกว่า 10 ตัน article
ธ.ก.ส ปล่อยกู้ 10,000 ล้านบาท ช่วยเกษตรกรแก้หนี้นอกระบบ article
พริกไทย..พืชเศรษฐกิจใหม่สร้างรายได้นับล้าน ที่สุโขทัย article
วิเคราะห์ตลาดมะละกอสุกก่อนลงทุน article
มาตรการแก้ปัญหาราคายางตกต่ำ article
เยือนแหล่งปลูกกล้วยหอมทองแหล่งใหญ่ นับ 1,000 ไร่ article
ขนุน...พืชทำเงินของชาว จ.ระยอง ส่งออกต่างประเทศ article
มารู้จักกับโรคทางดิน(โรคเหี่ยว โรคเน่า) กันค่ะ article



Copyright 2020 S.P. HARDWARE IMPORT EXPORT Co.,Ltd. All rights reserved.